Three Years On: Demanding Answers for the Enforced Disappearance of Sombath Somphone in Laos

10:30 am, Monday, December 14, 2015

Foreign Correspondents Club of Thailand (FCCT)

Three years ago, on December 15, Magsaysay award winner and acclaimed community development leader Sombath Somphone was detained at a police checkpoint in Vientiane, Laos, and then disappeared by state authorities. Since then, the Lao police and government authorities have consistently failed to seriously investigate the case, and continue to unpersuasively claim ignorance of Sombath’s whereabouts.

Yet evidence is still being uncovered, and on the 3rd anniversary of his enforced disappearance, new CCTV camera footage — obtained from the area where Sombath was abducted on the day that Sombath vanished into state custody – will be made public.

A panel of speakers will also provide the latest updates on Sombath’s case and the international campaign to demand answers from the Lao PDR government.

Speakers include:

  • Angkhana Neelaipaijit,Thai National Human Rights Commissioner, Justice for Peace Foundation and Sombath Initiative
  • Sam Zarifi, International Commission of Jurists
  • Laurent Meillan, UN Office of the High Commissioner of Human Rights
  • Phil Robertson, Human Rights Watch

For more information, please call +66-85-060-8406, or email: RobertP@hrw.org

1,000 days on, Sombath’s enforced disappearance a clear dereliction of Lao’s international obligations

1000 days11 September 2015

Today marks 1,000 days since prominent Lao civil society leader Sombath Somphone “disappeared” at a police checkpoint on a busy street in Vientiane. We, the undersigned organizations, reiterate our call for the Lao government to intensify its efforts to conduct a prompt, impartial, and effective investigation into Sombath’s apparent enforced disappearance, to determine his fate or whereabouts, and to take the necessary measures to bring those responsible to justice.

At the second Universal Periodic Review (UPR) of Laos, held in Geneva on 20 January 2015, 10 states made recommendations to Laos to investigate Sombath’s disappearance. In addition, five states raised questions about the issue.

We are dismayed by the Lao authorities’ failure to provide any specific information on the status and progress of the investigation since 7 June 2013. This failure has occurred despite the government’s claim in June 2015, during the UPR process, that it was “still thoroughly conducting” an investigation into Sombath’s “whereabouts.” It is not enough for Laos to simply assert it is still investigating the case. Laos’ international legal obligations require it to carry out a prompt investigation and to keep Sombath’s family informed on the progress and status of the investigation. Continue reading “1,000 days on, Sombath’s enforced disappearance a clear dereliction of Lao’s international obligations”

1,000 Days without Justice

Press conference and panel discussion

10:30 am, Friday September 11, 2015

Note: This event will be streamed live on: http://www.ustream.tv/channel/fcct-live

FIDH-LogoOn the evening of December 15, 2015, police stopped prominent Lao civil society leader Sombath Somphone at a police checkpoint on a busy street of Vientiane. Shortly after being stopped, CCTV footage showed that unknown individuals forced Sombath into another vehicle and drove away while police looked on. Sombath was never seen again. His fate or whereabouts remain unknown to this day.

September 11, 2015, marks 1,000 days since Sombath disappeared. During these 1,000 days, what has been done to safely return Sombath? What have been the domestic and regLogo-Sombath Initiativeional implications of his disappearance? What are the next steps?

A panel of four distinguished speakers will answer these questions and provide an update on the quest for truth and justice for Sombath Somphone’s disappearance.

Ms. Shui-Meng Ng is the spouse of Sombath Somphone and a member of the Advisory Board of the Sombath Initiative.

Mr. Kingsley Abbott is the International Legal Advisor for Southeast Asia for the International Commission of Jurists (ICJ) and a former Senior Legal Officer with the United Nations at the Extraordinary Chambers in the Courts of Cambodia.

Ms. Angkhana Neelapaijit is the founder and President of the Justice for Peace Foundation (JPF), a member of the Advisory Board of the Sombath Initiative, and a nominee to the National Human Rights Commission of Thailand (NHRCT).

Ms. Debbie Stothard is the Secretary-General of FIDH, the Coordinator of ALTSEAN-Burma, and the Co-Chair of the ASEAN Peoples’ Forum/ASEAN Civil Society Conference (APF/ACSC) Media Committee.

Two years marked at FCCT in Bangkok

FCCT-2014-12-11To mark two years since the enforced disappearance of Sombath Somphone, a press conference was held at the Foreign Correspondents Club in Thailand on December 11th.

The event also included the  launch of the Sombath Initiative, as well as the release of the International Commission of Jurists’ Missed Opportunities: Recommendations for Investigating the Disappearance of Sombath Somphone.”

Video of the event is available here. Remarks were given by: 1) Angkhana Neelapaijit from the Justice for Peace Foundation, 2) Sam Zarifi from ICJ, 3) Matilda Bogner from OHCHR, and 4) Ng Shui Meng. (11 December 2014)

Lao govt condemned for failure to investigate disappearance of prominent Lao civil society worker

Prachathai: 12 December 2014

Thaweeporn Kummetha

Two years after the abduction of the prominent, internationally acclaimed Lao development worker Sombath Somphone by Lao state agents, the Lao government has done very little to find the truth, experts say. Meanwhile, the disappearance and lack of justice has effectively created a climate of fear which has worsened the human rights situation in Laos.

SB-
Sombath Somphone (Photo courtesy of Sombath.org)

“Today marks 726 days, four days short of two years, since Sombath has been taken away from me and my family,” Shui Meng Ng, the wife of Sombath, said at a seminar ‘Sombath Somphone Missing for Two Years’ in Bangkok on Thursday. “Even after the 726 days, the shock, the pain, the anguish have not lessened. In fact, the anxiety has grown with each passing day. Some people sometimes ask me ‘Do you think Sombath is still alive?’ My answer is ‘I can only hope that he is still alive’. Without that hope, I will not have the strength to get up each day”

On 15 December 2012, CCTV at a police checkpoint in Vientiane recorded footage that shows that state agents abducted Sombath at the checkpoint. His car was stopped and then he was escorted into a truck. No one has seen him since. Continue reading “Lao govt condemned for failure to investigate disappearance of prominent Lao civil society worker”

นานาชาติกดดันลาวตามหานักพัฒนาชุมชนแมกไซไซถูกอุ้มหายครบ 100 วัน

สำนักฃ่าวอิศรา: 27 มีนาคม 2013

‘เมียทนายสมชาย’ จี้ ‘ดีเอสไอ’ เอาจริงคดีหายตัว นานาชาติกดดันลาวตามหา ‘สมบัด เอ็นจีโอแมกไซไซ’ ถูกอุ้มหาย 100 วัน ภาคประชาสังคมไทยร่วมด้วย

วัน ที่ 27 มี.ค. 56 กองทุนรางวัลสมชาย นีละไพจิตร  มูลนิธิยุติธรรมเพื่อสันติภาพ โครงการฟื้นฟูนิเวศในภูมิภาคแม่นน้ำโขง  (TERRA) และ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย จัดเสวนา ‘สิทธิมนุษยชนในประชาคมอาเซียน:กรณีศึกษาการสูญหายของสมบัด สมพอน และสมชาย นีละไพจิตร’ ณ คณะนิติศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์)

นางอังคณา นีละไพจิตร ภรรยานายสมชาย นีละไพจิตร ในฐานะประธานคณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ กล่าว ว่า ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชนหลายมาตราไม่สอดคล้องกับหลักการสิทธิมนุษย ชนสากล เช่น ม.5, ม.7 และม.8 จึงเกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์ว่าจะคุ้มครองสิทธิของคนในภูมิภาคได้หรือไม่ โดยจากรายงานขององค์การสหประชาชาติ (ยูเอ็น) ที่ได้รับการร้องเรียนระบุอาเซียนมีผู้ถูกบังคับให้สูญหาย แบ่งเป็นประเทศลาว 1 กรณีและเวียดนาม 1 กรณี (ไม่รวมกรณีสมบัด สมพอน) พม่า 2 กรณี อินโดนีเซีย 162 กรณี ไทย 71 กรณี ซึ่งยูเอ็นเคยขอความร่วมมือรัฐบาลไทยเข้าร่วมตรวจสอบข้อเท็จจริง แต่ได้รับการปฏิเสธ

นางอังคณา ยังกล่าวถึงกรณีทนายสมชายว่าตกเป็นเหยื่อถูกบังคับให้สูญหายจากการกระทำของ เจ้าหน้าที่รัฐ ซึ่งคดีเกิดความไม่โปร่งใสในการสอบสวน ถูกแทรกแซง จนพยานหวาดกลัวว่าจะถูกคุกคามหลบหนีไปต่างประเทศ แม้ว่ารัฐบาลได้ร่วมลงนามในอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลสูญหาย เมื่อปี 55  แล้ว

“กรณีคดี สมชายอาจเป็นเพียงโศกนาฏกรรมส่วนตัวซึ่งไม่ต้องมีใครรับผิดชอบ รัฐบาลอาจจะย้อนว่าได้เงินแล้วจะเอาอะไรอีก ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้นกับสมชาย เราจะไม่ละทิ้งอุดมการณ์ที่เขามีมาตลอดชีวิต สมชาย นีละไพจิตร ไม่ใช่วีรบุรุษ แต่คือคนธรรมดาซึ่งเชื่อมั่นในความยุติธรรม”

นางอังคณา กล่าว ถึงความคืบหน้าว่าคดีลักพาตัวอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของศาลฎีกา และคดีคนสูญหายอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) เป็น 1 ใน 3 คดี (คดีสมชาย นีละไพจิตร-กมล เหล่าโสภาพันธ์-อัลรู ไวลี่) ซึ่งวันนี้ดีเอสไอพยายามทำทุกวิถีทางเพื่อให้จับกุมนายสมคิด บุญถนอม จำเลยคดีอุ้มนายอัลรู ไวลี่ นักธุรกิจชาวซาอุดิอาระเบีย เข้าคุกให้ได้ แต่คดีสมชายและกมลกลับไม่คืบหน้า  สะท้อนว่าบางทีความยุติธรรมจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยปัจจัยดุลอำนาจ ซึ่งเกิดกับคนธรรมดายาก  โดยคุณสมชายเป็นกรณีศึกษาที่รัฐบาลจะต้องสร้างกลไกป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน ทั้งนี้ขอคัดค้านแนวคิดการนำกฎหมายซ้อมทรมานมารวมกับกรณีอุ้มหาย เพราะมีนิยามของคำว่าเหยื่อต่างกัน

“เหยื่อ ในอนุสัญญาซ้อมทรมานหมายถึงผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงทั้งทางกาย จิตใจ และการลดทอนศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ส่วนเหยื่อในนิยามของการอุ้มหาย ไม่ได้หมายถึงผู้ถูกบังคับอุ้มหายเท่านั้น แต่รวมถึงครอบครัว พยาน และบุคคลแวดล้อมที่ต้องได้รับการคุ้มครองด้วย” นางอังคณา กล่าว

นาย วิฑูรย์ เพิ่มพงศาเจริญ นักพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมผู้เคยร่วมงานกับสมบัด ในฐานะผู้อำนวยการเครือข่ายพลังงานเพื่อนิเวศวิทยาในลุ่มน้ำโขง กล่าวว่าต้น เหตุของการถูกบังคับให้สูญหายจำนวนมาก เกิดจากความขัดแย้งในการแย่งชิงฐานทรัพยากร ปัญหาชาติพันธุ์ ความขัดแย้งข้ามพรมแดน เช่นเดียวกับกรณีหายตัวไปของสมบัด สมพอน (นักพัฒนาอาวุโสชาวลาวที่ได้รับรางวัลแมกไซไซสาขาพัฒนาชุมชนปี 2548) ครบ 100 วัน ซึ่งสมบัดร่วมต่อสู้คัดค้านการนำ พื้นที่ในประเทศให้เอกชนต่างชาติเช่าในระยะเวลาที่ยาวนาน ส่งมีผลกระทบให้ชาวบ้านต้องสูญเสียที่ดินโดยไม่ได้รับค่าชดเชยเลย และร่วมคัดค้านกรณีการสร้างเขื่อนไซยะบุรี ซึ่งอาจสาเหตุของการหายตัวไปหรือการเชือดไก่ให้ลิงดู

วิฑูรย์ กล่าวอีกว่ารัฐบาลลาวประเมินสถานการณ์หายตัวไปของอ้ายสมบัดต่ำเกินไปโดยบอก ว่าไม่รู้ไม่เห็น เพราะขณะนี้ประชาคมโลกกำลังหันมาจับจ้องการตามหาความยุติธรรมในเรื่องนี้

ผู้ สื่อข่าวรายงานว่า เมื่อ 25 มี.ค. 56 กลุ่มองค์กรภาคประชาสังคมแห่งประเทศไทยเข้ายื่นหนังสือต่อน.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เพื่อขอให้รัฐบาลไทยมีส่วนร่วมคุ้มครองสิทธิพื้นฐานของประชาชนในประเทศลาว กรณีการหายตัวไปของสมบัด สมพอน  ขณะที่นายจอห์น แครี่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศสหรัฐอเมริกา ออกมาเรียกร้องให้รัฐบาลลาวชี้แจงความคืบหน้า .

จากทนายสมชายสู่อ้ายสมบัด 'อังคณา' ขอนานาชาติกระตุ้น รบ.ลาวเร่งหาความจริง

ประชาไท: 27 มีนาคม 2013

ครบ 100 วันการหายตัวไปของ ‘สมบัด สมพอน’ นักกิจกรรมลาว – ‘อังคณา นีละไพจิตร’ ชี้ข้ออ่อนปฏิญญาสิทธิมนุษยชนอาเซียน ไม่อาจคุ้มครองคนใน ขอนานาชาติช่วยกระตุ้นรัฐบาลเร่งหาความจริง เพื่อนร่วมงาน ‘สมบัด’ เชื่อไม่ใช่เรื่องส่วนตัว แต่เชือดไก่ให้ลิงดู

วิฑูรย์ เพิ่มพงศาเจริญ-อังคณา นีละไพจิตร-ประทับจิต นีละไพจิตร

27 มีนาคม 56 ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ กองทุนรางวัลสมชาย นีละไพจิตร ร่วมกับ มูลนิธิยุติธรรมเพื่อสันติภาพ โครงการฟื้นฟูนิเวศในภูมิภาคแม่น้ำโขง (TERRA) และแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย จัดเสวนาหัวข้อ “สิทธิมนุษยชนในประชาคมอาเซียน กรณีศึกษาการสูญหายของสมบัด สมพอน และสมชาย นีละไพจิตร มีผู้ร่วมเสวนาคือ นางอังคณา นีละไพจิตร ประธานคณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ ภรรยาของนายสมชายผู้ถูกบังคับให้หายตัวไป ตั้งแต่วันที่ 12 มีนาคม 2547 และนายวิฑูรย์ เพิ่มพงศาเจริญ นักพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมผู้เคยร่วมงานกับสมบัด และผู้อำนวยการเครือข่ายพลังงานเพื่อนิเวศวิทยาในลุ่มน้ำโขง ดำเนินรายการ โดย ประทับจิต นีละไพจิตร

ช่วงเริ่มต้นการเสวนา มีการอ่านแถลงการณ์ของ นางอ๋อง ชุย เม็ง ภรรยาของนายสมบัด นักพัฒนาชาวลาว ผู้ถูกบังคับหายตัวตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม  2555 นางอ๋อง ชุย เม็ง สื่อสารมาว่า ตนเองมีความทุกข์ทรมานต่อการหายตัวไปของสามีอย่างมาก และขอแสดงความเสียใจต่อนางอังคณา พร้อมทั้งแสดงความเคารพต่อความเข้มแข็งกล้าหาญในการต่อสู้เพื่อความยุติธรรม การหายตัวไปของสมบัดนั้น นางอ๋อง ชุย เม็งเห็นว่าเกิดขึ้นโดยการรับรู้ของตำรวจและเป็นหน้าที่ที่รัฐบาลจะต้องรับ ผิดชอบ ให้เขากลับมาอย่างปลอดภัย  แม้ในภายหลัง รัฐบาลได้ยืนยันว่าตำรวจพยายามหานายสมบัดอย่างดีที่สุดแล้ว แต่ไม่พบ ตนเองก็จะยังเชื่อมั่นในการทำงานของรัฐต่อไป เพราะไม่มีทางเลือกอื่นอีก

นาง อ๋อง ชุย เม็ง เห็นว่า การทำให้บุคคลสูญหายไป เป็นการสร้างความหวาดกลัวให้แก่บุคคลในชาติซึ่งมีความคิดความเชื่อ หรือทำกิจกรรมเพื่อต่อต้านความอยุติธรรมในสังคม โดยอาจไม่ได้มีสาเหตุมาจากกลุ่มอาชญากรรม แต่อาจมาจากรัฐเอง เพื่อจะปิดปากพลเมืองที่ทำตัวมีปัญหากับรัฐ  การหายตัวไปของนายสมบัดทำให้เชื่อว่า เราไม่สามารถละเลยการละเมิดสิทธิ์ดังกล่าว เพราะคิดว่าเป็นเพียงเรื่องโชคร้ายของใครบางคน หากต้องยอมรับว่า การสูญหายโดยไม่สมัครใจเป็นอาชญากรรม ละเมิดสิทธิมนุษยชน เป็นการกระทำที่ยังไม่ถูกลงโทษ ทั้งที่เป็นการปรามาสต่อหลักนิติรัฐ

ใน การเสวนา นางอังคณากล่าวถึงการรวมกลุ่มประชาคมอาเซียนว่า การเปิดอาเซียนจะทำให้คนที่อยู่ในกลุ่มธุรกิจได้รับผลประโยชน์มาก แต่คนกลุ่มอื่นจะได้อะไร คนธรรมดา คนชนชั้นล่างๆ จะได้อะไรบ้าง นางอังคณามองว่า ภูมิภาคอาเซียนมีสิ่งงดงามอยู่ในสังคม ที่หาซื้อจากไหนไม่ได้ นั่นคือ ความเกื้อกูลแบ่งปัน ร่วมทุกข์ร่วมสุขกัน แต่เมื่อพูดถึงเรื่องสิทธิ์ การเข้าถึงความยุติธรรม ถือว่ายังเป็นรองภูมิภาคอื่นๆ Continue reading “จากทนายสมชายสู่อ้ายสมบัด 'อังคณา' ขอนานาชาติกระตุ้น รบ.ลาวเร่งหาความจริง”

Panel Discussion on Human Rights in ASEAN

“Human Rights in ASEAN: Lessons Learned from the Disappearance of Sombath Somphone and Somchai Neelapaijit”

March 27, 2013, 9.30-12.00,
Jitti Tingsapat Meeting Room, 1st Floor, Faculty of Law,
Thammasat University (Tha Phrachan Campus), Bangkok,

The Somchai Neelapaijit Memorial Fund, Justice for Peace Foundation, Towards Ecological Recovery and Regional Alliances (TERRA), and Amnesty International Thailand will host a panel discussion entitled “Human Rights in ASEAN: Lessons Learned from the Disappearance of Sombath Somphone and Somchai Neelapaijit.” The event will take place on March 27, 2013, from 9.30-12.00, at the Jitti Tingsapat Meeting Room, 1st Floor, Faculty of Law, Thammasat University (Tha Phrachan Campus). Panelists will include: 1) Angkhana Neelapaijit, wife of Somchai Neelapaijit, 2) Dr. Sriprapha Petcharamesree, Mahidol University and the previous Thai representative of ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights (AICHR) and, 3) Witoon Permpongsacharoen, Director of Mekong Energy and Ecology Network (MEE Net). A statement by Somphone’s wife Ng Shui Meng will also be read during the event.

The objective of the panel discussion is to raise awareness about human rights violations in the region including enforced disappearances, the two cases themselves, and to commemorate the ninth anniversary of the disappearance of Somchai Neelapaijit. Moreover, organizers want to send a message to ASEAN governments that they should not focus only on economic cooperation while ignoring human rights violations. The cases of Sombath Somphone, the Lao development worker and Somchai Neelapaijit, the Thai activist lawyer, are two prominent cases showing the failure of the rule of law, transparency and accountability in ASEAN.

**Interpretation from Thai to English is available

Read more about Sombath Somphone at www.sombath.org and about Somchai Neelapaijit at www.somchaiaward.org

For more information, please email somchaifund@gmail.com or call (+66) 89-8291167,  (+66) 89-8291167